ฐาน ข้อมูล หนังสือ เรียน

การ เคาะ ปอด

  1. การฟังเสียงปอด - Nurse Soulciety
  2. การเคาะปอดทารก
  3. การเคาะปอดเพื่อร���บายเสมหะ

ติดตามข่าวสาร จากโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต กรุณากรอกอีเมลคุณเพื่อรับข่าวสารจากโรงพยาบาล

การฟังเสียงปอด - Nurse Soulciety

ความรู้จากแพทย์ศรีพัฒน์ การฟื้นฟูสมรรถภาพการหายใจ โดยวิธีการระบายเสมหะ อ. พญ. ชนัดดา วงศ์เอกชูตระกูล ทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัสเอกสาร PI-IMC-143-R-00 อนุมัติวันที่ 8 พฤษภาคม 2563 ในผู้ป่วยที่มีปัญหาในการขับเสมหะ นอกเหนือจากการฟื้นฟูสมรรถภาพการหายใจ ที่ต้องอาศัยทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟูแล้ว วิธีการพื้นฐานในการระบายเสมหะสามารถทำได้โดยตัวผู้ป่วยเองหรือโดยผู้ดูแลผู้ป่วย วิธีการระบายเสมหะ มีทั้งการจัดท่าระบายเสมหะ, การเคาะปอด/การสั่นปอด รวมทั้งการฝึกไอ ข้อบ่งชี้ การระบายเสมหะ 1. ผู้ป่วยที่มีเสมหะค้างอยู่ในปอด เช่น ผู้ป่วยปอดอักเสบ มีหนองในปอด หรือมีเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจ มีภาวะปอดแฟบหรือมีการหายใจลำบาก 2. ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มจะมีเสมหะคั่งค้างในระยะยาว เช่น ผู้ป่วยติดเตียง, ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลานาน และผู้ที่ได้รับการเจาะคอ 3. ผู้ป่วยที่ไม่มีแรงไอ หรือไอขับเสมหะออกมาได้น้อย การจัดท่าระบายเสมหะ เป็นการจัดท่าของผู้ป่วย เพื่อใช้แรงโน้มถ่วงของโลกในการระบายเสมหะออกมา มักทำร่วมกับการเคาะปอดและการสั่นปอด ข้อห้ามในการจัดท่าระบายเสมหะ 1. มีอาการหายใจลำบาก หรือโรคหืดเฉียบพลัน โรคถุงลมโป่งพองแบบรุนแรง หรือภาวะลมดันในช่องเยื่อหุ้มปอดที่ยังไม่ได้รักษา 2.

การเคาะโดยตรงใช้ปลายนิ้วมือทั้งสองถึงสามนิ้วคือนิ้วชี้นิ้วกลางและนิ้วนางงอเล็กน้อยหรือใช้ฝ่ามือ สันมือหรือกำปั้นข้างที่ถนัดเคาะหรือตบลงไปตรงบริเวณที่ต้องการตรวจโดยตรงเช่นท่อปลายนิ้วบริเวณโพรงกระดูกที่ใบหน้า กระดูกไหปลาร้ากระดูกซี่โครงหรือช่องว่างระหว่างกระดูกซี่โครงถ้าสงสัยว่าจะมีการอักเสบของอวัยวะตำแหน่งใดอาจตรวจโดยใช้ฝ่ามือตบหรือกำปั้นทุบเบาๆตรงตำแหน่งงานถ้ามีการอักเสบภายในผู้ป่วยจะมีอาการปวดมากการขอโดยวิธีนี้ถือว่าเป็นการเคาะที่ทำง่ายๆสะดวกและรวดเร็วแปลทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บและผลที่ได้เป็นการตรวจอย่างคร่าวๆเท่านั้น 2.

  • ลูก หมา ราคา
  • การเคาะปอด เทคนิคขับเสมหะแบบประหยัด - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • เทคนิค "เคาะปอด" ช่วยลดอาการไอ ขับเสมหะให้ลูกน้อย | Ged Good Life ชีวิตดีดี
  • การเคาะปอดผู้ใหญ่

การเคาะปอดทารก

การฟังเป็นการตรวจภายในทรวงอกที่สําคัญและจําเป็น โดยใช้หูฟัง (Stethoscope) ขณะฟังต้องสังเกต 1. เสียงหายใจ (Breath sound) เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของอากาศ ในหลอดลมในขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก ให้ผู้รับบริการหายใจเข้าออกแรงๆ จะทําให้ได้ยินเสียงหายใจผ่านหลอดลมและปอดได้ชัดเจน เสียงหายใจที่ได้ยินตามตําแหน่งต่างๆ ได้แก่ 1. 1 เสียงหลอดลมใหญ่ (Tracheal breath sound) เป็นเสียงที่เกิดจาก ลมผ่านเข้าออกในหลอดลมใหญ่ ฟังได้ยินตรงตําแหน่ง ที่หลอดลมตั้งอยู่ บริเวณคอด้านหน้าและคอด้านหลัง ลักษณะการหายใจ ขณะหายใจเข้าสั้น และหายใจออกยาว 1. 2 เสียงหลอดลม (Bronchial breath sound) ฟังได้ยินบริเวณ ส่วนกลางของทรวงอกด้านบน ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง มีลักษณะเป็นเสียงผสมระหว่างเสียงถุงลมกับเสียงหลอดลม 1. 3 เสียงถุงลม (Vesicular breath sound) ฟังบริเวณทรวงอก ตรงตําแหน่งชายปอดทั้ง 2 ข้าง ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เป็นเสียงที่เกิดจากลม ผ่านเข้าออกในเนื้อเยื่อปอด ลักษณะเสียงหายใจที่ได้ยินขณะหายใจเข้าจะดังและยาวกว่า ขณะหายใจออก 2.

#เคาะปอดทารกง่ายๆได้ที่บ้าน - YouTube

ระบบหายใจผิดปกติ - ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจลำบากขั้นรุนแรง เป็นโรคถุงลมโป่งพองขั้นรุนแรง - ผู้ป่วยที่อยู่ในระยะติดเชื้อในระบบหายใจ ระยะเฉียบพลัน หรือปอดอักเสบในระยะแรก ผู้ป่วยวัณโรคในระยะแรก - เพิ่งไอเป็นเลือดในปริมาณมากโดยไม่ทราบสาเหตุ - ผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด - ผู้ป่วยที่มีก้อนลม หรือลิ่มเลือดในกระแสเลือดในปอด - ผู้ป่วยที่มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอดที่ไม่ได้รับการรักษา 2. ระบบเลือดและหัวใจทำงานไม่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ - อาการเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง - หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ หรือเพิ่งได้รับการผ่าตัดหัวใจ - เกล็ดเลือด ต่ำกว่า 40, 000 / ลบ. มม. 3.

การเคาะปอดเพื่อร���บายเสมหะ

ติดตามGedGoodLife ช่องทางอื่น ๆ ได้ที่… Facebook: GEDGoodLife Nutroplex: nutroplexclub Twitter: @gedgoodlife Line: @gedgoodlife Youtube: GEDGoodLife ชีวิตดีดี

เสียงผิดปกติอื่นๆ (Adventitious sound) แสดงว่ามีพยาธิสภาพ เกิดขึ้นในหลอดลมและปอดเสียงผิดปกติที่พบบ่อยแบ่งออกเป็นกลุ่มได้ 2 กลุ่ม คือ พวกกลุ่มเสียงที่มีความชื้นจากของเหลว(Moist Sounds) เช่น เสียง Rales, Crepitation อีกกลุ่มเป็นเสียงที่ไม่มีของเหลว (Dry Sounds) ได้แก่ เสียงพวก Rhonchi, Stridor, Pleural friction rub 3. 1 Crepitation, crackle, rales เป็นความหมายเดียวกันหมดแต่ทาง American Thoracic Society (ATS) จะใช้ crackle เป็นเสียงที่เกิดขึ้นในหลอดลมและถุงลม หลอดลมแขนงเล็กๆ ที่มีน้ำเสมหะ ขณะหายใจออกถุงลมจะแฟบ ถ้ามีน้ำเมือกหรือ เสมหะอยู่จะทําให้ถุงลมแฟบติดกัน พอหายใจเข้าลมจะดันถุงลมให้พองออก จึงเกิดเสียงกรอบแกรบ ลักษณะของเสียงที่ได้ยินจะคล้ายเสียงแตกของ ฟองอากาศ หรือเสียงเหมือนขยี้ผมใกล้ๆหู 3.

#การเคาะปอดทารกเพื่อระบายเสมหะ - YouTube

ดื่มน้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่นวันละหลายๆแก้ว 2. งดน้ำหรืออาหารที่เย็น 3. สวมเสื้อผ้าให้หนาเพื่อให้เกิดความอบอุ่นต่อปอด ในเด็กที่ต้องนั่งเล่นบนพื้นจะต้องสวมกางเกงขายาว และถุงเท้าด้วยเพื่อไม่ให้ขาและเท้าเย็น 4. ใช้ผ้าขนหนูหรือผ้าที่หนาปูรองนอนเพื่อป้องกันมิให้เย็นบริเวณหลัง และห่มผ้าปิดหน้าอกให้มิดชิด 5. ไม่เปิดพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศให้ลมเย็นจี้มาที่ทรวงอก ควรใช้เพื่อระบายอากาศเท่านั้น 6. อาบน้ำที่ไม่เย็นในห้องน้ำที่ปิดมิดชิด แต่งตัวให้อบอุ่นก่อนออกมานอกห้อง 7มายเหตุ ท่าทางในการเคาะปอดทั้งหมดสามารถนำไปใช้ได้ถ้าไม่มีข้อห้ามต่างๆดังต่อไปนี้ อย่างไรก็ตาม จะต้องนำผู้ป่วยไปพบแพทย์เพื่อรับคำปรึกษาก่อนเสมอ ข้อห้ามในการเคาะปอดคือ 1. ไอมีเสมหะปนเลือด 2. โรคหัวใจ หรือหลอดเลือดโป่งพอง 3. กระดูกซี่โครงหัก 4. วัณโรคปอดระยะเฉียบพลัน 5. ถุงหนองในเนื้อปอดในตำแหน่งใกล้เยื่อหุ้มปอด 6. หนองหรือของเหลวในเยื่อหุ้มปอด ขอขอบคุณผู้แสดงแบบ ด. ญ. ขวัญชนก ตัณฑเศรษฐี คุณกอแก้ว สุขกาย

  1. Ulthera isky ราคา 88
  2. White iverson lyrics แปล